Decoding the Thai-Myanmar Pro-Democracy Movement, Driving the Inspiration across States– across Borders

Teerachai Sanjaroenkijthaworn Inviting you to capture the lessons learned from the over-365-day of the Myanmar’s pro-democracy movement through an exchange forum amongst the Thai young activists who continuously drive democracy and equality issues. This forum was held at the Documentary Club & Pub as part of the “365 Days after…” exhibition co-organized by the Spirit … Continue reading Decoding the Thai-Myanmar Pro-Democracy Movement, Driving the Inspiration across States– across Borders

เมื่อคนโขงบุกกรุง เหยียบย่ำเดินเท้าเว้าแทนปลา (ตอนที่ 1)

เรื่องและภาพโดย ธีระชัย ศาลเจริญกิจถาวร "เดินเท้า เว้าแทนปลา" คนโขงบุกทำเนียบ พร้อมยื่นข้อเสนอ 7 ข้อ หลังการตั้งคณะกรรมการกลางเพื่อแก้ไขปัญหาแม่น้ำโขงเงียบหายไปกับสายลมนานเกือบปี นับแต่มีการก่อสร้างเขื่อนไซยะบุรีและการเดินเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ส่งขายไฟฟ้าเข้ามาในระบบการไฟฟ้าที่มีผู้รับซื้ออย่างการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เมื่อเดือนตุลาคม 2562 ความเปลี่ยนแปลงของแม่น้ำโขงเกิดขึ้นอย่างชัดเจน ยากที่จะอธิบายอย่างหลีกเลี่ยงว่าปรากฏการณ์แม่น้ำโขงสีคราม สวยใสไร้ตะกอนนั้น ไม่ได้มาจากการสร้างเขื่อนบนแม่น้ำโขงสายหลัก อาการของมหันตภัยจากเขื่อนที่กระทบต่อระบบนิเวศและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนริมโขงถูกพูดถึงบนแม่น้ำโขงผ่านสื่อหลายประเภทจนเห็นเป็นประจักษ์พยานแล้วว่าแม่น้ำโขงวิกฤตจากสาเหตุใดเป็นหลัก ก่อนวันหยุดเขื่อนโลก (14 มีนาคมของทุกปี) เพียงสามวันคนโขงในฝ่ายประเทศจาก 7 จังหวัด ประกอบด้วย เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี กว่า 50 ชีวิต จึงได้เดินทางเข้าใจกลางกรุงเทพมหานครที่หน่วยงานละแวกทำเนียบรัฐบาลเพื่อบอกเล่าปัญหาที่พวกเขาต้องพบเจอมานานนับหลายปี ไปจนถึงเสนอข้อเรียกร้องเข้าเจราจากับหน่วยงานรัฐกว่า 12 หน่วยงาน เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาด้วยการสร้างกลไกที่เป็นรูปธรรมและปฏิบัติงานได้จริง ซีรีส์บทความ “เดินเท้าเว้นแทนปลา” นี้จะเป็นการบันทึกเหตุการณ์และข้อความหรือข้อสรุปต่าง ๆ ที่ได้จากบทสนทนาระหว่างเครือข่ายภาคประชาสังคม ตัวแทนประชาชนริมโขงจากทั้ง  7 จังหวัด กับ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดการปัญหาและความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมที่เกิดขึ้นบนแม่น้ำโขง โดยในบทความแรกนี้จะเป็นการสรุปบันทึกการพูดคุยและเจรจาระหว่างตัวแทนภาคประชาชนริมโขง และ … Continue reading เมื่อคนโขงบุกกรุง เหยียบย่ำเดินเท้าเว้าแทนปลา (ตอนที่ 1)

Soothing the Mekong Spirit when the Dam Generates Electric Power

For the Southeastern and Chinese people, the existence of spirit is the existence of life. Without spirit, there is no life. The spirit is therefore the source of their power of life. The above statement came from the noteworthy writing of Sujit Wongthes, an important Southeast Asia historian and archaeologist of Thailand, proposing that spirit … Continue reading Soothing the Mekong Spirit when the Dam Generates Electric Power

7 Provinces Mekong people say Mekong dams made their happiness irreversible proposing adaptations to cross-border impacts

During the seminar “Xayaburi Dam, ecological changes and irreversible livelihoods of the Mekong community” held from 1:00 to 3:30 p.m. at Pak Chom District Community Hall, Loei Province, representatives from 7 provinces along the Mekong River presented the changes and their lifelong memories of the Mekong as well as reflected some problems arising from the … Continue reading 7 Provinces Mekong people say Mekong dams made their happiness irreversible proposing adaptations to cross-border impacts

Summary Minutes from the Forum “Developing Good Governance Beyond Borders in ASEAN: Voices from Communities”

24 August 2018, 9.30 – 16.00 hr. at The Connecion Seminar Center, Ladprao, Bangkok Introduction: On August 24th, 2018, a forum on “Developing Good Governance Beyond Borders in ASEAN: Voices from Communities” was organized in Bangkok by ETOs Watch (a Thai civil society group) and Social Research Institute (Chulalongkorn University). The term ‘Good Governance Beyond … Continue reading Summary Minutes from the Forum “Developing Good Governance Beyond Borders in ASEAN: Voices from Communities”

รายงานการประชุม “การพัฒนาธรรมาภิบาลข้ามพรมแดนสู่อาเซียน: เสียงสะท้อนจากชุมชน”

วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๔๖๑ ระหว่างเวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ออดิทอเรียม The Conecion ๐๙.๓๐ เริ่มด้วยการนำเสนอในหัวข้อ “โครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย: มองอดีต ก่อนเดินหน้า” Thant Zin (ภาคประชาสังคมเมียนมา)  ในทวายตอนนี้นอกจากจะมีโรดลิ้งค์แล้วเรายังมีโครงการเหมืองขนาดใหญ่อีกสองแห่งซึ่งไฟฟ้าที่ได้ทั้งหมดจะส่งให้ประเทศไทย และการตั้งเป้าหมายด้านเศรษฐกิจเป็นหลักของรัฐบาลก็ส่งผลให้ชาวบ้านโดยเฉพาะในพื้นที่กะเหรี่ยงต้องถูกแย่งยึดที่ดิน ซึ่งปัจจุบันที่ดินกว่า ๘๐,๐๐๐ เอเคอร์ของชาวบ้านต้องถูกรัฐบาลยึดไป และในพื้นที่ตะนาวศรีซึ่งจะเป็นที่รองรับโครงการขนาดใหญ่ที่ใช้ที่ดินถึง ๑.๘ ล้านเอเคอร์ ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นก็มีตั้งแต่ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ ไปจนถึงผลกระทบทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งหากจะยกตัวอย่างโครงการที่ได้รับผลกระทบในทุกๆ ด้านนั่นก็คือโครงการเหมืองแร่เฮงดา ชาวบ้านในพื้นที่ได้พยายามต่อสู้เรียกร้องมาอย่างยาวนาน สิ่งที่เราได้ทำไปแล้วก็คือ เราได้ยื่นข้อร้องเรียนกรณีโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติประเทศไทย จนได้มีมติคณะรัฐมนตรีออกมา และยังได้ทำงานร่วมกับ ETO Watch Coalition ในการติดตามประเด็นเงินกู้สร้างถนนเชื่อมต่อ ซึ่งสิ่งที่เราจะวางแผนทำต่อไปในอนาคตอันใกล้คือการสร้างความเข้าใจและและผลักดันศักยภาพของภาคประชาชน เช่นที่หมู่บ้านกาโลนท่า ซึ่งเป็นหมู่บ้านสำคัญอันเป็นจุดเริ่มต้นของผลกระทบจากโครงการต่อแหล่งน้ำธรรมชาติ และอีกเป้าหมายหนึ่งคือจะช่วยสนับสนุนการท่องเที่ยวในท้องถิ่น ซึ่งเป็นการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม ธีรชัย ศาลเจริญกิจถาวร (The Mekong Butterfly) ให้ข้อมูลเรื่องโครงการถนนเชื่อมต่อสองช่องทางและข้อมูลที่ได้จากการลงพื้นที่พูดคุยกับชาวบ้านและภาคประชาสังคมซึ่งจะจัดทำเป็นรายงานการศึกษาว่า เมื่อ วันที่ ๒๙ … Continue reading รายงานการประชุม “การพัฒนาธรรมาภิบาลข้ามพรมแดนสู่อาเซียน: เสียงสะท้อนจากชุมชน”

Book Launch Introduction for “Report on Thailand’s Foreign Direct Investment: Impacts on Communities, Environment and Human Rights Violation”

June 15, 2018, during the event “Mekong’s People and Resources under Uncertainty: Change? Adaptation? and Leaving No One Behind?” which was the 1st National Conference on Border Study and International Development held by Area-based-Social Innovation Research Center (Ab-SIRC), School of Social Innovation, Mae Fah Luang University, the ETO Watch Coalition had a chance to present … Continue reading Book Launch Introduction for “Report on Thailand’s Foreign Direct Investment: Impacts on Communities, Environment and Human Rights Violation”

บรรยายเปิดตัวหนังสือ “รายงานการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ: ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน”

เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ที่ผ่านมา ในงาน “คนและทรัพยากรในลุ่มน้ำโขง ภายใต้ความไม่แน่นอน: การเปลี่ยนแปลง? การปรับตัว? และการไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง?” ซึ่งเป็นการประชุมวิชาการระดับชาติด้านชายแดนศึกษาและการพัฒนาระหว่างประเทศ ครั้งที่ 1 ซึ่งจัดโดยศูนย์นวัตกรรมสังคมเชิงพื้นที่ สำนักวิชานวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ทางคณะทำงานติดตามความรับผิดชอบการลงทุนข้ามพรมแดน (ETO Watch Coalition) ได้มีโอกาสนำเสนอหนังสือ “รายงานการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ: ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน” ตัวแทนนำเสนอ นายธีระชัย ศาลเจริญกิจถาวร กล่าวว่าการจัดพิมพ์หนังสือที่มีเนื้อหาที่สะท้อนให้เห็นพฤติกรรมการลงทุนและธรรมาภิบาลการลงทุนของนักลงทุนไทยในครั้งนี้ก็เพื่อให้สังคมตระหนักถึงการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่มาพร้อมกับการลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ และมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อให้เกิดการกำกับ ควบคุม ดูแลนักลงทุนไทยที่ออกไปลงทุนข้ามพรมแดนโดยภาครัฐ ซึ่งควรมีมาตรการที่เป็นรูปธรรมในการกำกับ ควบคุม ดูแล ทั้งในเชิงกฎหมายและในเชิงกลไกต่าง ๆ นอกจากนี้ยังได้สรุปภาพรวมและความน่าสนใจของหนังสือเล่มนี้โดยแบ่งออกเป็น 6 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1) ภาพรวมการเติบโตของการออกไปลงทุนในต่างประเทศของทุนไทย รวมไปถึงปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดการออกไปลงทุนโดยรัฐไทย และปัจจัยดึงดูดให้เกิดการลงทุนต่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศกลุ่ม CLMV 2) รูปแบบการลงทุนของทุนไทยในต่างประเทศ 3) กรณีศึกษา 12 กรณีที่ทางกลุ่มติดตามอยู่ 4) … Continue reading บรรยายเปิดตัวหนังสือ “รายงานการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ: ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน”