เหตุผล 3 ประการที่สหรัฐฯ ล้มเหลวในการดำเนินการเมื่ออุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลได้ให้การสนับสนุนเงินทุนอาชญากรรมร้ายแรงต่อมวลมนุษยชาติครั้งใหญ่ในเมียนมา

แปลและเรียงเรียงโดย ธีระชัย ศาลเจริญกิจถาวร จากบทความ "THREE REASONS THE U.S. FAILS TO ACT AS THE FOSSIL FUEL INDUSTRY BANKROLLS MASS ATROCITIES IN MYANMAR" เขียนโดย เคิร์ก เฮอร์เบิร์ตสัน (Kirk Herbertson) https://earthrights.org/blog/three-reasons-the-u-s-fails-to-act-as-the-fossil-fuel-industry-bankrolls-mass-atrocities-in-myanmar/ "เหตุผล 3 ประการที่สหรัฐฯ ล้มเหลวในดำเนินการเมื่ออุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลได้ให้การสนับสนุนเงินทุนอาชญากรรมร้ายแรงต่อมวลมนุษยชาติครั้งใหญ่ในเมียนมา" 20 มีนาคม 2566 เคิร์ก เฮอร์เบิร์ตสัน เดเร็ก โชเลต ที่ปรึกษากระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ เดินทางเยือนไทยในสัปดาห์นี้ "เพื่อจัดการกับวิกฤตการณ์ที่เลวร้ายลงในเมียนมา" ในขณะที่คณะเผด็จการทหารหันไปใช้การโจมตีทางอากาศและการโจมตีด้วยปืนใหญ่ต่อพลเรือนมากขึ้น ที่ปรึกษาโชเลต รู้ดีว่าชาวเมียนมายังคงประท้วงการระดมทุนของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลจากรัฐบาลทหารที่โหดร้ายของเมียนมา และเรียกร้องให้รัฐบาลสหรัฐฯ ลงโทษการเข้าถึงรายได้จากก๊าซของรัฐบาลทหาร ผู้ประท้วงเหล่านี้เสี่ยงออกไปตามท้องถนนในภูมิภาคสะกาย เพียงไม่กี่วันหลังจากพบศพ 16 คนที่ถูกคณะเผด็จการทหารลักพาตัวไปโดยมีร่องรอยของการข่มขืนและการทรมาน ที่ปรึกษาโชเลตควรฟังพวกเขา นอกจากนี้ คณะเผด็จการทหารยังได้เพิ่มการโจมตีทางอากาศและการโจมตีด้วยปืนใหญ่ต่อพลเรือน ในขณะเดียวกัน อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลระหว่างประเทศยังคงชำระเงินรายเดือนหลายร้อยล้านดอลลาร์สหรัฐไปยังบัญชีธนาคารที่ถูกยึดครองโดยคณะเผด็จการทหาร … Continue reading เหตุผล 3 ประการที่สหรัฐฯ ล้มเหลวในการดำเนินการเมื่ออุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลได้ให้การสนับสนุนเงินทุนอาชญากรรมร้ายแรงต่อมวลมนุษยชาติครั้งใหญ่ในเมียนมา

Mekong River Situation and Policy Recommendations For the Next Government

All lives of the Mekong River depend on the river’s seasonal flow and sediments to flourish. Current development plans extract and destroy the Mekong River’s sources of lives. Stop the destructive developments. Bring back the seasonal flow and sedimentation. Mekong River Situation and Thailand Government’s Policies in 2022  Two pressing issues of the Mekong River … Continue reading Mekong River Situation and Policy Recommendations For the Next Government

สถานการณ์แม่น้ำโขงและข้อเสนอนโยบายสำหรับรัฐบาลหน้า

สถานการณ์แม่น้ำโขง และนโยบายของรัฐในปี 2565 สถานการณ์ปัญหาหลักของแม่น้ำโขง คือ การเปลี่ยนแปลงการไหลที่ไม่เป็นไปตามธรรมชาติและปริมาณตะกอนหายไป จากการสร้างเขื่อนผลิตไฟฟ้าในลุ่มน้ำโขง ทั้งในแม่น้ำโขงสายหลักในจีน, ลาว และบนลำน้ำสาขาในลาว (รวมทั้งกัมพูชา ไทย และเวียดนาม) ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศแม่น้ำโขงและการใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ของชุมชน เป็นปัญหาสะสมต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2536 และรุนแรงเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2550 ต่อเนื่องมาจนถึงปีปัจจุบัน อาทิเช่น น้ำขึ้นลงผิดปกติในฤดูแล้ง ชุมชนสูญเสียรายได้จากการท่องเที่ยว, น้ำโขงขึ้นไม่เต็มตลิ่ง หญ้าไม่ตาย ไม่มีตะกอนทับถม ทำให้สูญเสียพื้นที่เกษตรริมโขง และน้ำโขงไม่ไหลเข้าลำน้ำสาขา เช่น น้ำสงคราม, ตลิ่งพัง เกิดดอนใหม่ ร่องน้ำเปลี่ยน และน้ำโขงแห้ง ส่งผลกระทบต่อ บ้านเรือนริมตลิ่ง ระบบประปา การเกษตรริมโขง และปัญหาการครอบครองที่ดินเกิดใหม่, ปลาอพยพผิดฤดู ชุมชนจับปลาได้น้อยลง สูญเสียอาชีพ รายได้ และความมั่นคงทางอาหาร, พืชไม้น้ำในแม่น้ำโขงล้มตายเป็นจำนวนมาก การสูญเสียระบบนิเวศน้ำโขง ถิ่นที่อยู่อาศัยและห่วงโซ่อาหารของปลา, การออกดอกของไม้น้ำ ในแม่น้ำโขง ที่ผิดฤดูกาล เช่น ไคร้น้ำ, หว้าน้ำ เป็นต้น, ระดับน้ำโขงที่เปลี่ยนแปลงผิดปกติในฤดูแล้ง ท่วมพื้นที่วางไข่ของนกที่อาศัยทำรังวางไข่ในช่วงฤดูแล้ง, น้ำโขงใสไร้ตะกอน เกิดการระบาดของสาหร่ายแม่น้ำโขงในฤดูแล้ง และชาวบ้านจับปลาไม่ได้ เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทันที หลังการเปิดเขื่อนไซยะบุรีเมื่อ 29 ตุลาคม 2562 และเกิดต่อเนื่องมาจนปี 2565 และต่อเนื่องด้วยปัญหาการดำน้ำยิงพ่อแม่พันธุ์ปลาในวังหรือถ้ำใต้น้ำ, การสูญเสียเครื่องมือประมง … Continue reading สถานการณ์แม่น้ำโขงและข้อเสนอนโยบายสำหรับรัฐบาลหน้า

76 Thai – Foreign Civil Society Organizations ask Thai Gas Companies to Stop Enabling Myanmar Army’s Crackdown of People

20th May 2021, Bangkok, The Extraterritorial Obligation Watch Coalition (ETOs Watch) called on Thai gas companies to stop the flow of revenue to the Myanmar Army, which is aiding the army’s human rights violations against the people.  The ETO Watch – a collective of Civil Society Organizations (CSOs) and Non-Governmental Organizations (NGOs) working on Business and … Continue reading 76 Thai – Foreign Civil Society Organizations ask Thai Gas Companies to Stop Enabling Myanmar Army’s Crackdown of People

7 Provinces Mekong people say Mekong dams made their happiness irreversible proposing adaptations to cross-border impacts

During the seminar “Xayaburi Dam, ecological changes and irreversible livelihoods of the Mekong community” held from 1:00 to 3:30 p.m. at Pak Chom District Community Hall, Loei Province, representatives from 7 provinces along the Mekong River presented the changes and their lifelong memories of the Mekong as well as reflected some problems arising from the … Continue reading 7 Provinces Mekong people say Mekong dams made their happiness irreversible proposing adaptations to cross-border impacts

Press Release: Displaced farmers from Cambodia filed a lawsuit against Mitrphol, the Sugar Giant for remedy and justice

Press Release: Displaced farmers from Cambodia filed a lawsuit against Mitrphol, the Sugar Giant for remedy and justice   The statement is submitted during the official visit of Mr. Dante Pesce and Professor Surya Deva, Member of the United Nations Working Group on Business and Human Rights, Mr. Robert Vaughan and Mr. Ulrik Halsteen to … Continue reading Press Release: Displaced farmers from Cambodia filed a lawsuit against Mitrphol, the Sugar Giant for remedy and justice

Statement by the Thai Mekong People’s Network in Eight Provinces from the 1st Dialogue with Datang (Lao) Pak Beng Hydropower Co. Ltd. on 17 January 2018, Chiang Khong, Thailand

Statement by the Thai Mekong People’s Network in Eight Provinces from the 1st Dialogue with Datang (Lao) Pak Beng Hydropower Co. Ltd. on 17 January 2018, Chiang Khong, Thailand (the photo from International Rivers) We, Thai Mekong People’s Network from Eight Provinces, declare our position from the Dialogue with Datang (Lao) Pak Beng Hydropower Co. … Continue reading Statement by the Thai Mekong People’s Network in Eight Provinces from the 1st Dialogue with Datang (Lao) Pak Beng Hydropower Co. Ltd. on 17 January 2018, Chiang Khong, Thailand

รายงานสรุปการประชุมการติดตามผลการดำเนินงาน ตามมติคณะรัฐมนตรีว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนจากการลงทุนข้ามพรมแดนของไทย อันเกี่ยวเนื่องจากข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๐ ระหว่างเวลา ๐๘.๓๐ – ๑๒.๓๐ น. ณ ห้องประชุม ๗๐๙ ชั้น ๗ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ[1] เริ่มประชุมเวลา ๐๙.๐๐ น. เตือนใจ ดีเทศน์ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และประธานอนุกรรมการด้านสิทธิชุมชน และฐานทรัพยากร คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ในฐานประธานการประชุม กล่าวเปิดและแนะนำการประชุม โดยมีความเป็นมาจากการติดตามผลการดำเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรีว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนจากการลงทุนข้ามพรมแดนของไทย อันเกี่ยวเนื่องจากข้อเสนอแนะของ กสม. ซึ่งเป็นการร่วมกันจัดระหว่างคณะอนุกรรมการด้านสิทธิชุมชน และฐานทรัพยากร และคณะผู้ร่วมจัด ประกอบด้วย เสมสิกขาลัย กลุ่มเสรีภาพแม่น้ำโขง และสมาคมพัฒนาทวาย และมีคณะผู้เชี่ยวชาญที่เข้าร่วม ได้แก่ สุนี ไชยรส และ สฤณี อาชวะนันทกุล และมีคณะผู้แทนหน่วยงานที่เข้าร่วมต่างๆ หลังจากนั้นประธานฯ มอบสุนี ไชยรส ดำเนินรายการ สุนี ไชยรส กสม. ชุดที่หนึ่ง (2544-2552) ผู้ดำเนินรายการ … Continue reading รายงานสรุปการประชุมการติดตามผลการดำเนินงาน ตามมติคณะรัฐมนตรีว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนจากการลงทุนข้ามพรมแดนของไทย อันเกี่ยวเนื่องจากข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

Thailand Must Act on its Commitment to Business and Human Rights Regulations

Released at the Public Seminar on Thai Outbound Investment: Follow-up Meeting on Thailand’s Commitment to United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights (UNGP), organized by the National Human Rights Commission of Thailand and the Thai Extraterritorial Obligations-Watch Working Group (Thai ETO-Watch). September 11, 2017 - Bangkok We, the undersigned organizations and individuals, represent … Continue reading Thailand Must Act on its Commitment to Business and Human Rights Regulations