Photography book “The Mekong Harmony”

The Mekong Harmony began with our desire to show the beauty of the Mekong River, an international river covering a distance of thousands kilometres. It has been in our minds for a long time. Embraced by the river, mountains and cliffs, the spectacular landscape always left us in awe. And as we listened and observed … Continue reading Photography book “The Mekong Harmony”

รายงานการศึกษา ย้อนรอยโขงใส ไร้ตะกอน

“ตะกอนแขวนลอยในแม่น้ำโขงทั้งสายหายไปเฉย ๆ ได้อย่างไร ?” ทั้งที่เมื่อแม่น้ำโขงไหลเข้าสู่ประเทศไทยที่อำเภอเชียงแสนยังมีความขุ่นมากจากตะกอนแขวนลอย แต่หลังจากที่ไหลเข้าสู่ประเทศลาวที่แก่งผาได อำเภอเวียงแก่น และไหลกลับสู่ชายแดนไทย-ลาวอีกครั้ง ที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลยนั้น น้ำโขงกลับใส ไร้ตะกอนเกือบจะโดยสิ้นเชิง หน่วยงานทั้งในประเทศไทย และองค์กรระดับภูมิภาค ที่รับผิดชอบโดยตรง ดูจะไม่อินังขังขอบ กับปรากฏการณ์นี้และผลกระทบต่อระบบนิเวศและชุมชนเท่าใดนัก เพราะยังคงกล่าวอ้างผลการศึกษาว่าน้ำโขงมีคุณภาพตามเกณฑ์ในระดับดีมาก ดังนั้น “ตะกอนแขวนลอยในแม่น้ำโขงทั้งสายหายไปเฉย ๆ ได้อย่างไร” จึงเป็นคำถามตั้งต้นของการพิสูจน์ปรากฏการที่ไม่ธรรมชาติ ของภาวะน้ำโขงใสไร้ตะกอน ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ที่ตรงไปตรงมาโดยประชาชนในพื้นที่ริมแม่น้ำโขง ทั้งหมด 6 จุด ร่วมไปกับการประยุกต์ข้อมูลที่วิเคราะห์มาจากรายงานของกรมทรัพยากรน้ำ และสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ คือ “โครงการศึกษาและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนจากโครงการไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน”  จากหลักฐานเชิงประจักษ์ก่อนหน้านี้ ทั้งจากภาพถ่าย การสังเกตอย่างต่อเนื่องของคนในพื้นที่ และปรากฏการณ์ที่ผิดปกติของแม่น้ำ จึงเป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่า การเปิดใช้งานเขื่อนไซยะบุรีอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 ที่ผ่านมา ซึ่งตั้งบนแม่น้ำโขงในแขวงไซยะบุรี ช่วงที่แม่น้ำโขงไหลเข้าสู่ประเทศลาว และห่างจากชายแดนไทยเหนืออำเภอเชียงคานประมาณ 200 กิโลเมตร ซึ่งเป็นช่วงเวลาของการเริ่มต้นฤดูหนาวของปี เป็นเหตุให้เกิดปรากฏการณ์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน และเกิดขึ้นในทันทีหลังการเปิดใช้งานเขื่อนไซยะบุรี คือ ปรากฏการณ์น้ำโขงใสไร้ตะกอน และการแพร่ระบาดของสาหร่ายในแม่น้ำโขงตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2562 ซึ่งพบได้ตลอดแนวแม่น้ำโขงที่เป็นพรมแดนไทย-ลาว … Continue reading รายงานการศึกษา ย้อนรอยโขงใส ไร้ตะกอน

Sound of the Wolf From the Headwaters of Lancang River

Sound of the Wolf From the Headwaters of Lancang River[1] The Chinese embassy spokespersons’s remarks on the “Mekong-related Media Report Targeting China” released on 5 July 2019 and the Mekong River Council (MRC)’s recent news release on the decreasing water flow from China’s Jinghong station on 3 July 2019 are not coincidental. They are, instead, … Continue reading Sound of the Wolf From the Headwaters of Lancang River

Mekong Birds’ Lives

Chanang Umparak Now is the end of the spawning season of the Small Pratincole (Glareola lactea) and the Little Ringed Plover (Charadrius dubius) birds migrated to live on the sand beach emerging from the water during the dry season. This will be the last round of hatching. When these chicks can toddle and learn to … Continue reading Mekong Birds’ Lives

ต้นทุนที่ถูกซุกซ่อน: ภัยพิบัติแฝงจากน้ำเขื่อนต่อชาวบ้านริมโขง จ.บึงกาฬ

เรื่องและภาพโดย ชนาง อำภารักษ์ เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2561 ที่ผ่านมา กรมอุตุนิยมวิทยาออกประกาศเตือน[1]เรื่องพายุดีเปรสชันที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนเซินติญ (SON-TINH) โดยส่งผลให้บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลาง ของประเทศไทยจะเกิดฝนตกหนักถึงหนักมาก ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลากในช่วงวันที่ 18-21 กรกฎาคม และในช่วงวันที่ 17 สิงหาคม ก็มีพายุโซนร้อนเบบินคา (BEBINCA) [2] ที่พัดเข้าประเทศลาวจนทำให้ไทยได้ผลกระทบจากมรสุมนี้เช่นกัน พายุในช่วงเวลานี้เองที่เป็นส่วนหนึ่งในการเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมภาคอีสานครั้งใหญ่โดยเฉพาะจังหวัดติดแม่น้ำโขงเมื่อเดือน กรกฎาคม-ตุลาคม ที่ผ่านมา ทำให้ชาวบ้านในพื้นที่เดือดร้อนจากการสูญเสียไร่นาแปลงเกษตรและบ้านเรือนที่ต้องเสียหายจากน้ำเอ่อขังนานร่วมสามเดือน ทว่ามิใช่เพียงเหตุผลจากพายุซึ่งเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นตามฤดูกาลในแต่ละปีเท่านั้น หากปัญหาจากระบบจัดการน้ำอันเป็นสาเหตุภายในที่ซ้ำเติมให้ชาวบ้านต้องรับเคราะห์จากการดูแลจัดการน้ำที่ไม่เป็นระบบและความไม่เข้าใจธรรมชาติของระบบนิเวศทั้งจากรัฐและเอกชนที่ผุดโครงการพัฒนาอันส่งผลต่อทิศทางการไหลของน้ำในพื้นที่ภาคอีสาน ทั้งการสร้างเขื่อนในลำน้ำสาขาและฝายในลำห้วยซึ่งเชื่อมสู่แม่น้ำโขง แม้กระทั่งการถมที่ดินเพื่อสร้างสถานที่ราชการ ห้างสรรพสินค้า และการสร้างพนังกันน้ำในพื้นที่ป่าบุ่ง-ป่าทาม ซึ่งเป็นระบบนิเวศสำคัญในภาคอีสานจนสูญเสียพื้นที่รับน้ำตามธรรมชาติ โดยปัจจุบันป่าบุง-ป่าทาม ถูกทำลายเสียหายไปแล้วเกินกว่า 50% [3]  เมื่อไม่มีพื้นที่รับน้ำตามธรรมชาติดังกล่าวทำให้ความเสี่ยงทั้งหมดตกอยู่ที่เขื่อนและอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่อันโฆษณาว่าคุณูปการหนึ่งคือจะช่วยแก้ไขปัญหาน้ำท่วมแก่ประชาชน หากเมื่อปริมาณน้ำฝนอันมหาศาลไหลลงสู่เขื่อนอย่างต่อเนื่องทำให้ต้องเร่งระบายน้ำออกเพื่อรักษาสภาพไม่ให้เขื่อนพังทลาย โดยเมื่อพายุเซินติญลูกแรกสงบลง ปรากฏว่าปริมาณน้ำในเขื่อนน้ำอูนพุ่งสูงจนล้นเกิน 100% ของความจุเขื่อน เริ่มตั้งแต่วันที่ 3 สิงหาคม [4] จนต้องเร่งปล่อยน้ำออกมาอย่างเร่งด่วน ทั้งยังใช้กาลักน้ำถึง 50 เครื่อง เพื่อช่วยระบายน้ำเพิ่มจากการปล่อยออกอีก 1 … Continue reading ต้นทุนที่ถูกซุกซ่อน: ภัยพิบัติแฝงจากน้ำเขื่อนต่อชาวบ้านริมโขง จ.บึงกาฬ

When ‘Healing is not only an act of kindness, but also a duty’

How many saddle dams are there in the XePian-XeNamnoy Hydropower Project? The first time we read the flood warning letter issued by the XePian-XeNamnoy Power Company (PNPC) on 23 July 2018, it indicated a heavy rainfall and the water level at Saddle Dam D was about to overflow the dam crest. If the dam collapsed, … Continue reading When ‘Healing is not only an act of kindness, but also a duty’

Mekong Mainstream

ระบบนิเวศและวิถีชีวิต, เขื่อนไซยะบุรี ระบบนิเวศและวิถีชีวิต, เขื่อนดอนสะโฮง

Infographic: Xayaburi Hydropower Dam in Lao PDR

Introduction Xayaburi dam project is one of the cascade of 12 dams proposed on the mainstream of the lower Mekong River. Situated in northern Laos, it is the first ever project that has materialized. Its developer is Thailand-based Ch.Karnchang Public Company Limited (Ch.Karnchang) since 2007. Later in 2010, the Xayaburi Power Company Limited (XPCL) was … Continue reading Infographic: Xayaburi Hydropower Dam in Lao PDR

การลงทุนข้ามพรมแดนนอกเงาความรับผิดชอบของรัฐ กรณีเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำปากแบง

โดย ชนาง อำภารักษ์ สืบเนื่องจากแผนในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศลาวคือการส่งออกไฟฟ้าจากเขื่อน โดยเฉพาะเขื่อนบนแม่น้ำโขง เพื่อส่งออกกระแสไฟฟ้าให้ได้มากขึ้น ซึ่งคู่ค้าหลักที่รับซื้อไฟฟ้าของประเทศลาวคือประเทศไทย ทำให้แม้กรณีพิพาทของเขื่อนที่สร้างไปแล้วคือ เขื่อนไซยะบุรี และเขื่อนดอนสะโฮง ยังดำเนินอยู่ไม่จบสิ้น แต่รัฐบาลลาวก็ยืนยันที่จะสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำแห่งต่อไป นั่นคือโครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำปากแบง (Pak Bang Dam) โดยทางการลาวได้เซ็นบันทึกความเข้าใจกับ กลุ่มบริษัท ต้าถังโอเวอร์ซีส์อินเวสต์เม้นต์ (Datang Overseas Investment) ในเดือน สิงหาคม 2550 เพื่อให้เป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างโครงการเขื่อนปากแบง และ เริ่มทำการศึกษาตั้งแต่นั้น ผลการสำรวจศึกษาเบื้องต้นได้รับอนุมัติจากรัฐบาลลาวในเดือน มกราคม 2557 อายุสัมปทาน 30 ปี รวมทั้งระยะเวลาของการก่อสร้างโครงการ และมีบริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป บริษัทลูกของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยร่วมลงทุนด้วย[1] โดยจากเวทีแถลงข่าวผลการดำเนินธุรกิจปี 2558 ของ เอ็กโก เมื่อวันที่ 8 มี.ค. 2559 ระบุถึงสัดส่วนการร่วมทุนว่า บริษัท ต้าถัง อินเตอร์เนชั่นแนล … Continue reading การลงทุนข้ามพรมแดนนอกเงาความรับผิดชอบของรัฐ กรณีเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำปากแบง